ผักใบเขียวต่างๆ เช่น ผักโขม บริคโคลี ผักคะน้า ใบชะพลู ใบยอ ควรลดอาหารที่มีไขมันมากเนื่องจากไขมันจะขัดขวางการดูดซึมแคลเซียม ออ กกำลังกายอย่างถูกวิธี สม่ำเสมอ เหมาะสมกับสภาพร่างกาย เพศ และวัย อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วันๆ ละ 30 นาที เช่น วิ่งเหยาะๆ เดินเร็วๆ แอโรบิก เต้นรำ เป็นต้น ควรงดสูบบุหรี่ งดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ไม่ควรซื้อยากินเอง เพราะยาบางชนิดมีผลให่การดูดซึมแคลเซียมเข้าสู่ร่างกายลดลง เช่น ยารักษาไทรอยด์ ยาพวกสเตียรอยด์ ยาขับปัสสาวะ เป็นต้น ตรวจสุขภาพเป็นประจำทุกปี
ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุแบริ่ง-ลาซาล ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุพระราม2 บางขุนเทียน
วันพฤหัสบดีที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2561
โรคกระดูกพรุน(Osteoporesis)
โรคกระดูกพรุน (osteoporosis)
เป็นภาวะที่กระดูกทั่วร่างกายมีมวลกๅระดูกลด น้อยลง และมีการเสื่อมสลายของเนื้อเยื่อกระดูก จนทำให้กระดูกเปราะบางและแตกหักง่ายกว่า ปกติ
อายุ 50 ปี จะเกิดกระดูกหัก 1 คน ใน 8 คน ในคนอายุเกิน 80 ปี จะเกิดกระดูกหัก 70%
ปัจจัยเสี่ยงโรคกระดูกพรุน
1. ผู้ที่อยู่ในวัยสูงอายุ โดยเฉพาะเพศหญิง 2. มีบุคคลในครอบครัวเป็นโรคนี้ 3. หญิงวัยหมดประจำเดือน หรือตัดรังไข่ออกทั้ง 2 ข้าง 4.คนผิวขาวหรือชาวเอเชีย 5. เคลื่อนไหวน้อย หรือไม่ออกกำลังกาย 6. คนที่มีรูปร่างเล็ก ผอม 7. กินอาหารที่มีแคลเซียมน้อย 8. อาหารที่มีไขมันมาก
9.จะขัดขวางการดูดซึมแคลเซียม 10. สูบบุหรี่จัด 11. ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ และคาเฟอีน เช่น กาแฟ น้ำชา ในปริมาณมากๆ เป็นประจำ ผู้ที่กินยาบางชนิดซึ่งทำให้การดูดซึมแคลเซียม เข้าสู่ร่างกายลดลง เช่น ยารักษาไทรอยด์ ยาพวกสเตียรอยด์ ยาขับปัสสาวะ เป็นต้น 12.ผู้ที่ป่วยเป็นโรคที่เกิดจากการทำงานของต่อมไร้ท่อผิดปกติ เช่น โรคไทรอยด์ โรคเบาหวาน โรคของต่อมหมวกไต 13. หรือการเข้าเฝือกเป็นระยะเวลานาน
การป้องกันและรักษาโรคกระดูกพรุน
อาหารให้ครบ 5 หมู่ และหลากหลาย มีปริมาณแคลเซียมและวิตามินเพียงพอกับความต้องการของร่างกายในแต่ละวัย ซึ่งปกติควรได้รับแคลเซียมอย่างน้อยที่สุดประมาณวันละ 800 - 1,000 มิลลิกรัม อาหารที่มีแคลเซียมสูง ได้แก่ นมและผลิตภัณฑ์จากนม น้ำปู กุ้งแห้ง ปลาร้าผง กะปิ ปลาเล็กปลาน้อยที่กินทั้งกระดูก ถั่วแดงหลวง งาดำ ถั่วต่างๆ เต้าหู้
ป้ายกำกับ:ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ
ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ,
ศูนย์ดูแลพระราม2,
homecare,
nursinghome
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)